วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2556



แนวการจัดประสบการณ์การศึกษาปฐมวัย
สัปดาห์ที่ 23  สาระการจัดประสบการณ์ที่ 3  ธรรมชาติรอบตัว
หน่วยการจัดประสบการณ์ สีสวยสดใส
            แม่สีและการผสมสี
          ใบเตย       ดอกอัญชัน
    สีที่ได้จากธรรมชาติ
          มองนาน ๆ ปวดตา       สัญญาณไฟ

   ประโยชน์/โทษของสี
        สีที่นักเรียนรู้จัก
  สีเขียว          สีแดง              สีชมพู             สีน้ำเงิน
             สีม่วง            สีเหลือง             สีม่วง                
สีชมพู      สีน้ำเงิน   
                                                                                                 สีม่วง
  สีแดง         สีเหลือง           สีน้ำเงิน
สีเทียน         สีไม้             สีน้ำ
ประเภทของสี
       สีสวยสดใส


สิ่งที่เด็กรู้แล้ว
สิ่งที่เด็กต้องการรู้
สิ่งที่เด็กควรรู้
1. ชื่อของสี
2. สีแดง
3  สีน้ำเงิน
4  ชมพู
5  สีเหลือง
6  สีฟ้า
7  สีส้ม
1. ประโยชน์ของสี
2. สียอมผ้าจากธรรมชาติ
3. สีทาบ้าน
4. สีเทียน
5  สีน้ำ
6  สีไม้
7 คำศัพท์
1. สีที่นักเรียนรู้จัก
2. สีที่ได้จากธรรมชาติ
3. ประเภทของสี
4. แม่สีและการผสมสี
5. ประโยชน์และโทษของสี


สัปดาห์ที่ 23  วันที่ 5 สาระการจัดประสบการณ์ 4 เรื่อง สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก
หน่วยการจัดประสบการณ์ สีสวยสดใส
หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย  ประโยชน์และโทษของสี

1.  ชื่อกิจกรรม          เคลื่อนไหวและจังหวะ
2.  การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม
       1)  เทปเพลงบรรเลง
       2)  เครื่องเคาะจังหวะ
 3.  สาระการเรียนรู้
     1)  สาระที่ควรเรียนรู้
          1.1  การบริหารร่างกายประกอบเพลงบรรเลง
     2)  ประสบการณ์สำคัญ
2.1 การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
2.2 การมีประสบการณ์ทางการเล่นสร้างสรรค์ร่วมกับผู้อื่น
2.3 การอธิบายเกี่ยวกับสิ่งของ เหตุการณ์ และความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ
2.4 การพูดกับผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง หรือเล่าเรื่องเกี่ยวกับตนเอง
2.5 การสำรวจและอธิบายความเหมือน ความต่าง ๆ ของสิ่งต่าง ๆ
4.  จุดประสงค์ในการจัดกิจกรรม
1. บริหารร่างกายประกอบเพลงได้
2. เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายตามจังหวะได้
3. กล้าแสดงออก  มีความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.อดทน  รอคอยลำดับก่อน - หลังได้
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ  (20 นาที)
5. วิธีดำเนินกิจกรรม
ขั้นนำ
-       ครูพานักเรียนทำกิจกรรมพื้นฐาน ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปทั่ว ๆ  บริเวณอย่างอิสระตามจังหวะเมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที
ขั้นสอน
-       เด็กทำท่าทางบริหารร่างกายประกอบเพลงบรรเลง อย่างอิสระ
-       ปฏิบัติตามข้อ 1 ซ้ำอีก 2-3รอบ
-       เด็กและครูสนทนาซักถามเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวร่างกาย
-       เด็กพักผ่อนร่างกาย 2-3 นาที
ขั้นสรุป
-        นักเรียนสามารถเคลื่อนไหวอย่างอิสระ  ตามจังหวะ  เมื่อได้ยินสัญญาณหยุด ให้หยุดเคลื่อนไหวและฟังคำสั่งและปฏิบัติตามที่ได้ตกลงกันไว้และช่วยกันเก็บอุปกรณ์

6.สื่อหรือแหล่งการเรียนรู้

          1.   เครื่องทำจังหวะ
2.      เพลง “ชื่อของเธอ”

7.การประเมินผล

          สิ่งที่ต้องประเมิน
1.   สังเกตเด็กทำท่าทางประกอบเพลงได้
2.      สังเกตเด็กมีทักษะฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3.      สังเกตเด็กเล่นร่วมกับเพื่อนสนุกสนานและปลอดภัย
เครื่องมือการประเมิน
1.   แบบสังเกตตามรายการประเมินของกิจกรรม
2.   แบบสังเกตและประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
3.   แบบสังเกตและประเมินการพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
8. เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
ระดับ             3                  ดี
ระดับ             2                  พอใช้
ระดับ             1                  ปรับปรุง

                  





สัปดาห์ที่ 23 วันที่ 5 สาระการจัดประสบการณ์ที่ 4 เรื่องสิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
หน่วยการจัดประสบการณ์  สีสวยสดใส                
หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย  ประโยชน์และโทษ
1.  ชื่อกิจกรรม  เสริมประสบการณ์ (ในวงกลม)
2.  การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม
     1)  อาหารหรือขนมที่ได้จากสีธรรมชาติและสีสังเคราะห์
     2)  ภาพเกี่ยวกับประโยชน์และโทษของสี
 3.  สาระการเรียนรู้
    1)  สาระที่ควรเรียนรู้
          1.1  ประโยชน์และโทษของสี
          1.2  การเปรียบเทียบก่อน-หลัง
     2)  ประสบการณ์สำคัญ
          2.1  การสำรวจ และอธิบายความเหมือน ความต่างของสิ่งต่างๆ
4.  จุดประสงค์ในการจัดกิจกรรม
     1)  บอกประโยชน์และโทษของสีได้
     2)  เปรียบเทียบก่อน-หลังได้
กิจกรรมเสริมปรสบการณ์  (20 นาที)
5. วิธีดำเนินกิจกรรม
ขั้นนำ
-       ครูพานักเรียนทำกิจกรรมพื้นฐาน ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปทั่ว ๆ  บริเวณอย่างอิสระตามจังหวะเมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่อนไหวในท่านั้นทันที
ขั้นสอน
-       ครูนำภาพเกี่ยวกับประโยชน์และโทษของสีมาให้เด็กดู พร้อมทั้งสนทนาเกี่ยวกับรูปภาพ
-       ครูนำอาหารหรือขนมที่ทำจากสีธรรมชาติและสีสังเคราะห์มาให้เด็กดู
-       ครูและเด็กร่วมกันสนทนาถึงประโยชน์และโทษของสีและการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
-       ครูให้เด็กออกมาเข้าแถว 5 คน และสนทนากับเด็กว่าคนที่อยู่หน้าสุดเรียกว่ามาก่อน คนที่อยู่หลังสุดเรียกว่ามาทีหลัง
-       ครูทวน ก่อน-หลัง อีกครั้ง ครูให้เด็กชี้คนที่อยู่ในตำแหน่ง ก่อน-หลัง
ขั้นสรุป
-        นักเรียนสามารถเคลื่อนไหวอย่างอิสระ  ตามจังหวะ  เมื่อได้ยินสัญญาณหยุด ให้หยุดเคลื่อนไหวและฟังคำสั่งและปฏิบัติตามที่ได้ตกลงกันไว้และช่วยกันเก็บอุปกรณ์

6.สื่อหรือแหล่งการเรียนรู้

          1.   เครื่องทำจังหวะ
3.      เพลง “ชื่อของเธอ”

7.การประเมินผล

          สิ่งที่ต้องประเมิน
1.   สังเกตเด็กทำท่าทางประกอบเพลงได้
4.      สังเกตเด็กมีทักษะฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
5.      สังเกตเด็กเล่นร่วมกับเพื่อนสนุกสนานและปลอดภัย
เครื่องมือการประเมิน
1.   แบบสังเกตตามรายการประเมินของกิจกรรม
2.   แบบสังเกตและประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
3.   แบบสังเกตและประเมินการพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
8. เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
ระดับ             3                  ดี
ระดับ             2                  พอใช้
ระดับ             1                  ปรับปรุง

                  



        



สัปดาห์ที่ 23  วันที่ 5 สาระการจัดประสบการณ์ที่ 4 เรื่องสิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
หน่วยการจัดประสบการณ์  สีสวยสดใส
หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย ประโยชน์และโทษของสี
1.  ชื่อกิจกรรม  สร้างสรรค์
2.  การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม
   1)  วัสดุจากธรรมชาติ เช่น ก้านกล้วย สายบัว ฯลฯ
     2)  สีน้ำ  จานสี
     3)  กระดาษ A4
 3.  สาระการเรียนรู้
     1)  สาระที่ควรเรียนรู้
          1.1 การพิมพ์ภาพจากวัสดุธรรมชาติ
    2)  ประสบการณ์สำคัญ
       2.1 การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านสื่อวัสดุต่างๆ
           2.2  ชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งที่สวยงาม
4.  จุดประสงค์ในการจัดกิจกรรม
     1)  พิมพ์ภาพจากวัสดุธรรมชาติได้
      2)  ชื่นชมผลงานของตนเองและผู้อื่นได้
กิจกรรมสร้างสรรค์ (30 นาที)
วิธีดำเนินการจัดกิจกรรม
ขั้นนำ
-       ครูพาเด็กเล่นเกมจับคู่สีที่ตนเองชอบ เช่น สีแดง สีม่วง สีฟ้า ฯลฯ เด็กก็ต้องวิ่งจับกลุ่มสีให้ครบ และร้องเพลงประกอบ
ขั้นสอน
-       ครูแจกกระดาษ วัสดุธรรมชาติ จานสี สีน้ำ
-       ครูแนะนำและสาธิตวิธีการพิมพ์ภาพจากวัสดุธรรมชาติ
-       ให้เด็กพิมพ์ภาพจากวัสดุตามจินตนาการ และนำเสนอผลงานของตนเองพร้อมทั้งชื่นชมผลงานของเพื่อน
-       เมื่อเด็กทำงานเสร็จให้เก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย


ขั้นสรุป
-   ปฏิบัติกิจกรรมตามความคิด และจินตนาการของตนเอง อย่างอิสระและมีพัฒนาการด้านสังคม อารมณ์ จิตใจ มีน้ำใจช่วยเหลือผู้อื่น

6. สื่อหรือแหล่งเรียนรู้

1.  ผ้าเช็ดมือ
2.  ดินน้ำมัน ที่รองปั้น
3.  สีเทียน กระดาษทำผลงานสำเร็จ
4.  สีน้ำ กระดาษทำผลงานสำเร็จ พู่กัน พวงแก้วใส่สี  ขวดน้ำ

7. การประเมินผล

          สิ่งที่ต้องประเมิน
1. สังเกตการพิมพ์ภาพจากวัสดุธรรมชาติ
                   2. สังเกตการชื่นชมผลงานของตนเองและเพื่อน
เครื่องมือการประเมิน
1.   แบบสังเกตตามรายการประเมินของกิจกรรม
2.   แบบสังเกตและประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
3.   แบบสังเกตและประเมินการพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
8. เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
ระดับ             3                  ดี
ระดับ             2                  พอใช้
ระดับ             1                  ปรับปรุง

                  








สัปดาห์ที่ 23  วันที่ 5 สาระการจัดประสบการณ์ที่ 4 เรื่อง  สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
หน่วยการจัดประสบการณ์  สีสวยสดใส
หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย ประโยชน์และโทษของสี
1. ชื่อกิจกรรม    เสรี
2. การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม
    1)  อุปกรณ์ต่างๆที่จัดไว้ตามศูนย์กิจกรรมเสรีทั้ง 13 ศูนย์
3.  สาระการเรียนรู้
   1)  สาระที่ควรเรียนรู้
          1.1 การเล่นตามศูนย์เป็นการเล่นในศูนย์ประสบการณ์ต่าง ๆ อย่างอิสระ ซึ่งจะช่วยพัฒนาความคิดและจินตนาการของเด็กควบคู่ไปกับความรับผิดชอบ  การรอคอย  การแบ่งปัน  และการอยู่ร่วมกันเพื่อพัฒนาการเข้าสู่สังคม
   2)  ประสบการณ์สำคัญ
2.1  ช่วยพัฒนาความคิดและจินตนาการของเด็กควบคู่ไปกับการรับผิดชอบ  การเล่นร่วมกัน  และการแก้ไขปัญหา
4.  จุดประสงค์ในการจัดกิจกรรม
1.  เปิดโอกาสให้เด็กได้สังเกต สำรวจ ทดลอง ค้นคว้า คิดแก้ปัญหาในการทำงานและการเล่นเป็นกลุ่ม
2.  เกิดจินตนาการ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีความรับผิดชอบต่องานและสิ่งที่ตนเล่น
3.  ได้รับประสบการณ์ตรง ทำให้ใช้ภาษาสุภาพ ช่วยเหลือแบ่งปันผู้อื่นและรู้จักอดทนรอคอย
4. ส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
กิจกรรมเสรี (30 นาที)
5. วิธีดำเนินกิจกรรม
ขั้นนำ
-        จัดระเบียบการนั่งของเด็กตามมุมอิสรเสรี มุมดนตรีครูแนะนำการปฏิบัติตนในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรีทั้ง 13 ศูนย์ตามข้อตกลง
ขั้นสอน
-        ครูแนะนำการปฏิบัติตนในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรี 13 ศูนย์ตามข้อตกลง
-        เด็กเลือกเล่นศูนย์กิจกรรมเสรีตามความสนใจ
-         ครู เพิ่มเติมปรับเปลี่ยน จัดเตรียมงานให้ตรงกับหน่วยการเรียน
-         หลังเลิกเล่นให้ทำความสะอาดอุปกรณ์  พร้อมกับเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อยดูสวยงาม
ขั้นสรุป
-        เด็กมีพฤติกรรมการแสดงออกก่อนและหลังการเข้าศูนย์กิจกรรมเสรีการทำงานและการสร้างสรรค์ผลงานในการเล่นได้และเด็กเก็บของเข้าที่  และร่วมกันสังเกต /สำรวจความเรียบร้อยของอุปกรณ์

6.สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ 

1. มุมบ้าน 
2. มุมบล็อก 
3. มุมหนังสือ 
4. มุมหมอ  
5. มุมธรรมชาติ / วิทยาศาสตร์ 
6. มุมดนตรี

7.การประเมิน

          วิธีการประเมิน         
 1. สังเกตพฤติกรรมการแสดงออกก่อนและหลังการเข้าศูนย์กิจกรรมเสรี
                    2.  ตรวจใบงานในการทำงานและการสร้างสรรค์ผลงานในการเล่น
                    3. บันทึกและตรวจสอบพฤติกรรมในการเล่นศูนย์กิจกรรมเสรีทั้ง 13 ศูนย์
สิ่งที่ประเมิน
                   1. เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้  (มฐ.8)
                   2. แก้ปัญหาในการเล่นหรือทำกิจกรรม (มฐ.10)
                   3. มีวินัยในตนเองและมีความรับผิดชอบ  (มฐ.4)
                   4. มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น  (มฐ.3)
                   5. มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์  (มฐ.11)
8. เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
ระดับ             3                  ดี
ระดับ             2                  พอใช้
ระดับ             1                  ปรับปรุง



สัปดาห์ที่ 23 วันที่ 5 สาระการจัดประสบการณ์ที่ 4 เรื่อง  สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก
หน่วยการจัดประสบการณ์ สีสวยสดใส
 หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย ประโยชน์และโทษของสี
1.  ชื่อกิจกรรม  กลางแจ้ง
2. การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม
       1)  ขวดพร้อมฝา (ควรเลือกขวดที่มีฝาเกลียว)
        2)  เครื่องให้สัญญาณ
 3.  สาระการเรียนรู้
     1)  สาระที่ควรเรียนรู้
           1.1  การเล่นเกมเปิดฝาขวด
   2)  ประสบการณ์สำคัญ
           2.1  การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
           2.2  การเล่นรายบุคคล การเล่นเป็นกลุ่ม
4.  จุดประสงค์ในการจัดกิจกรรม
          1)    เล่นเกมเปิดฝาขวดได้
          2)   ใช้กล้ามเนื้อเล็กได้
6.    การประเมินผล
      1)  สังเกตการเล่นเกมปิดฝาขวด
      2)  สังเกตการใช้กล้ามเนื้อเล็ก   
      กิจกรรมกลางแจ้ง (45  นาที)
การดำเนกิจกรรม
ขั้นนำ
-        ให้เด็กทำท่าเลียนแบบกระต่ายกระโดด ลงสู่สนาม  เมื่อถึงสนามแล้วให้เด็กอบอุ่นร่างกายโดยการวิ่งเหยาะ ๆ รอบ ๆ บริเวณ 2 – 3 นาที
ขั้นสอน
-        ครูสนทนากับเด็กเกี่ยวกับกติกาการเล่นเกมปิดฝาขวด
-        ครูแบ่งเด็กเป็น 2-3 กลุ่ม เท่า ๆกันแต่ละกลุ่มยืนเข้าแถวตรงที่จุดเริ่มต้นและจุดปลายทางที่วางขวดต้องห่างกันจากจุดเริ่มต้น 1-2 เมตร
-         เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณ คนแรกของกลุ่มต้องวิ่งไปปิดฝาขวดและนำขวดมาต่อไว้ที่ท้ายแถวคนที่ถัดไปปฏิบัติเช่นเดียวกับคนที่หนึ่ง จนครบคนเล่นในกลุ่ม
-        ทีมใดมีขวดอยู่ในมือที่ปิดฝาสนิทจะเป็นฝ่ายชนะ
-         เล่นเสร็จแล้วให้เด็กล้างมือให้สะอาดและเข้าแถวเดินเข้าห้องเรียน
ขั้นสรุป
- ให้เด็ก ๆ เล่นเกมตามขั้นตอน คนใดทำผิดบ่อย ๆ ให้มาเป็นผู้ออกคำสั่งแทนครูก็ได้ทำความสะอาดร่างกาย ล้างหน้า ล้างมือ  ทำธุระส่วนตัว กลับเข้าห้องเรียน เพื่อเตรียมตัวไปรับประทานอาหารกลางวัน

6.สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ 

1. เครื่องเล่นสนาม
2. พร้อมอุปกรณ์การเล่น
7.การประเมิน
          วิธีการประเมิน
-        สังเกตการเล่นเกมปิดฝาขวด
-        สังเกตการใช้กล้ามเนื้อเล็ก   
-        สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่น
-        สังเกตความปลอดภัยเวลาเล่น
-        สังเกตความสนุกสนาน
                    สิ่งที่ประเมิน
                   1. เคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่วและทรงตัวได้ดี  (มฐ.2)
                   2. รักการออกกำลังกาย  (มฐ.5)
                   3. เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้  (มฐ.8)
         
8. เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
ระดับ             3                  ดี
ระดับ             2                  พอใช้
ระดับ             1                  ปรับปรุง



     

สัปดาห์ที่  23  วันที่  4 สาระการจัดประสบการณ์ที่ 4 เรื่อง  สิ่งที่อยู่รอบตัวเด็ก
หน่วยการจัดประสบการณ์  สีสวยสดใส
หน่วยการจัดประสบการณ์ย่อย ประโยชน์และโทษของสี
1.  ชื่อกิจกรรม เกมการศึกษา
2.  การเตรียมสื่อเพื่อจัดกิจกรรม
1)  เกมภาพตัดสีรุ้ง
2)  เกมที่เคยเล่นมาแล้ว
3.  สาระการเรียนรู้
          1)     สาระการเรียนรู้
1.1  การเล่นเกมภาพตัดต่อสีรุ้ง
          2)     ประสบการณ์สำคัญ
2.1  การเล่นรายบุคคล  การเล่นเป็นรายกลุ่ม
2.2  การแก้ปัญหาในการเล่น
2.2  การสังเกต  การจำแนก  และการเปรียบเทียบ 
4.  จุดประสงค์ในการจัดกิจกรรม
1)  เล่นเกมภาพตัดต่อสีรุ้งได้ได้
2)  เล่นร่วมกับผู้อื่นได้
5.  วิธีการจัดกิจกรรม
ขั้นนำ
-        ให้เด็กทำท่าเลียนแบบกระต่ายกระโดด ลงสู่สนาม  เมื่อถึงสนามแล้วให้เด็กอบอุ่นร่างกายโดยการวิ่งเหยาะ ๆ รอบ ๆ บริเวณ 2 – 3 นาที
ขั้นสอน
-        ครูแนะนำและสาธิตการเล่นเกมภาพตัดต่อสีรุ้งได้
-        เด็กเล่นเกมภาพตัดต่อสีรุ้ง
-         เด็กเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย  เมื่อเล่นเสร็จแล้ว
-         เด็กและครูร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเกมที่เล่น
ขั้นสรุป
- ให้เด็ก ๆ เล่นเกมตามขั้นตอน คนใดทำผิดบ่อย ๆ ให้มาเป็นผู้ออกคำสั่งแทนครูก็ได้ทำความสะอาดร่างกาย ล้างหน้า ล้างมือ  ทำธุระส่วนตัว กลับเข้าห้องเรียน เพื่อเตรียมตัวไปรับประทานอาหารกลางวัน

6)  การประเมินผล
1)   สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่น
          2)  สังเกตความถูกต้องในการเล่นเกม
          สิ่งที่ต้องประเมิน
1.       สังเกตเด็กเล่นเกมจับคู่ภาพสีกับคำศัพท์ง่าย ๆ ได้
2.      สังเกตเด็กมีทักษะการคิด  การสังเกต  การเปรียบเทียบ  และการจำแนกได้
3.      สังเกตเด็กเก็บของเข้าที่  ช่วยเหลือ  แบ่งปัน
เครื่องมือการประเมิน
1.       แบบสังเกตการประเมินพัฒนาการของกิจกรรม
2.      แบบสังเกตพฤติกรรมของเด็กเป็นรายบุคคล
3.      แบบสังเกตและประเมินการพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
7. เครื่องมือวัดผล
1.                   แบบประเมินผลการจัดประสบการณ์
2.                  ผลงานการวาดภาพ
8. เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
ระดับ             3                  ดี
ระดับ             2                  พอใช้
ระดับ             1                  ปรับปรุง














9. กิจกรรมเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………



(ลงชื่อ)                                                   ผู้สอน
                                                                   (……………………………….)
          ตำแหน่ง ………………………………..
วันที่  ……..  เดือน ……………………. .. ………….






10. ความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………



(ลงชื่อ)                                                   ผู้บริหาร
                                                                   (……………………………….)
             ตำแหน่ง ………………………………..
วันที่  ……..  เดือน ……………………. .. ………….




11. บันทึกหลังการสอน
11.1 ผลการสอน  ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.2  ปัญหา / อุปสรรค  ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11.3 ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข  ……………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………



(ลงชื่อ)                                          ผู้สอน
                                                               (……………………………….)
    ตำแหน่ง ………………………………..
วันที่  ……..  เดือน ……………………. .. ………….











แบบประเมินผลการจัดประสบการณ์  รายวัน

ปีการศึกษา ………….  วันที่ ……….  เดือน  ……………………………..  .. ………….
กิจกรรมการประเมิน
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
กิจกรรมสร้างสรรค์และเสรี
กิจกรรม
กลางแจ้ง
กิจกรรมเกม
การศึกษา
เลขที่
ชื่อ  -  นามสกุล
การปฏิบัติการตามสัญญาณ
การปฎิบัติตามคำสั่ง
ความคิด และจินตนาการ
ความกล้าในการแสดงออก
การสนทนา แลดงความคิดเห็น
การตอบคำถาม
ผลงานการปั้น
ความสวยงาม
ความคิดสร้างสรรค์
ความสนุกสนาน
การช่วยเหลือ แบ่งปัน
การระวังอุบัติเหตุ
ความเข้าใจในเกม
การแบ่งปัน การรอโอกาส
การเก็บสิ่งของเข้าที่










































































































































































หมายเหตุ       ระดับคุณภาพ
                   3                  ดี
2                  พอใช้
1                  ปรับปรุง

(ลงชื่อ)…………………………. ผู้ประเมิน                                    (ลงชื่อ) ………………………… ผู้บริหาร
           (…………………………)                                                                 (…………………………)
ตำแหน่ง …………………………                                              ตำแหน่ง  ………………………….
………/…………………../………….                                             ………../………………………./…………

(ภาคผนวก)
คำคล้องจอง เจ็ดวันฉันนั่งนับ
                                      เจ็ดวันฉันนั่งนับอาทิตย์ลับเริ่มสีแดง
                                                วันจันทร์นั้นเปลี่ยนแปลงเป็นสีเหลืองเรื่อเรืองตา
                                      วันอังคารสีชมพู ช่างงามหรูดูทีท่า
                                      วันพุธสุดโสภาเขียวขจีสีสดใส
                                      วันพฤหัสบดีประสานสีแสดวิลัย
                                      วันศุกร์ฟ้าอำไพ
                                      เสาร์สีม่วงเด่นดวงเอย